  |
|
 |
   |
 |
|
  |
|
|
|
|
  |
|
|
|
|
  |
|
|
|
|
|
|
|
 |
 |
|
|
เริ่มนับ วันที่ 10 ส.ค. 2554 |
|
|
 |
|
|
|
|
|
|

 |
ประวัติความเป็นมา |
|
ซับจำปาเป็นตำบลหนึ่งของอำเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี ได้ถูกค้นพบเมื่อประมาณปี ๒๔๘๐ เมื่อคนโคราชคู่หนึ่ง
ได้เดินทางเข้าไปอยู่เพราะพื้นที่ดังกล่าวมีน้ำซับที่อุดมสมบูรณ์ และได้ประกอบอาชีพในการทำน้ำมันยางและ
หาของป่าไปขาย
เหตุที่เรียกชื่อว่า ซับจำปา เนื่องจากมีต้นจำปาอยู่มากมายมีขนาดสูงใหญ่เต็มไปหมด
เคยเห็นดอก
ของจำปาร่วงหล่นลงมาจาก
ต้นใหญ่
กลีบดอกเป็นสีเหลืองจึงเข้าใจว่าเป็นต้นจำปา และเมื่อปี ๒๔๙๕-๒๔๙๖ ก็เริ่มมี
คนเข้าไปจับจองที่ดินบนผืนป่าแห่งนี้
มากขึ้นเรื่อยๆ จนเป็นหมู่บ้าน มีวัด โรงเรียน และได้ตั้งชื่อตามต้นไม้ที่มีอยู่รอบ
หมู่บ้านว่า "หมู่บ้านซับจำปา" |
|
|

 |
ที่ตั้งและอาณาเขต |
|
ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลซับจำปา อยู่ทางทิศตะวันออกของที่ว่าการอำเภอท่าหลวง ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑ ตำบล
ซับจำปา อำเภอท่าหลวง
จังหวัดลพบุรี มีระยะห่างจากอำเภอท่าหลวงประมาณ ๑๘ กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ ๕๘.๒ ตร.กม.
หรือ ๔๒,๗๗๕ ไร่ |
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อ |
ตำบลหนองผักแว่น |
อำเภอท่าหลวง |
จังหวัดลพบุรี |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อ |
ตำบลห้วยขุนราม |
อำเภอพัฒนานิคม |
จังหวัดลพบุรี |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อ |
ตำบลหัวลำ |
อำเภอท่าหลวง |
จังหวัดลพบุรี |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อ |
ตำบลน้ำสุด |
อำเภอพัฒนานิคม |
จังหวัดลพบุรี |
|
|
|

 |
สภาพภูมิประเทศ |
|
พื้นที่ทางกายภาพเป็นพื้นที่ราบสูงภูเขาส่วนหนึ่งและที่ราบสูงส่วนหนึ่ง พื้นที่เป็นดินร่วนปนดินเหนียว มีความสมบูรณ์
ค่อนข้างสูง ทั้งยังมีผืนป่าที่เป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร ได้แก่ น้ำซับในป่าจำปี สิรินธร ซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูกและฟื้นฟูเป็นสถานที่
พักผ่อนหรือแหล่งท่องเที่ยวในตำบลซับจำปา |
|
|

 |
สภาพภูมิอากาศ |
|
ภูมิอากาศในตำบลซับจำปา มีลักษณะร้อนชื้น มีช่วงฤดูฝนและฤดูแล้งที่เห็นเด่นชัด |
|

 |
ฤดูฝน |
ช่วงเดือนตุลาคม ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ |
|

 |
ฤดูหนาว |
ช่วงเดือนตุลาคมถึงมกราคม ได้รับอิทธิพลความเย็นมาจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วงเดือนมกราคมและธันวาคม มีอากาศหนาว อุณหภูมิต่ำสุด ๑๕.๓ องศาเซลเซียส |
|

 |
ฤดูร้อน |
อากาศร้อนถึงร้อนจัด อุณหภูมิสูงสุด ๔๑.๕ องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ย ๒๘.๓๑ องศาเซลเซียส |
|
|

 |
จำนวนประชากรในตำบล |
|
ประชากรทั้งสิ้น ๑,๓๓๑ ครัวเรือน จำนวน ๔,๓๗๖ คนประกอบด้วย |
|

 |
ชาย จำนวน ๒,๑๕๕ คน |
คิดเป็นร้อยละ ๔๙.๒๕ |
|

 |
หญิง จำนวน ๒,๒๒๑ คน |
คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๗๕ |
|
ความหนาแน่นเฉลี่ย ๗๕.๑๙ คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
      |
|
|
|
|
|
|
|
|