  |
|
 |
   |
 |
|
  |
|
|
|
|
  |
|
|
|
|
|
|
|
 |
 |
|
|
เริ่มนับ วันที่ 10 ส.ค. 2554 |
|
|
 |
|
|
|
|
|
|

 |
สภาพสังคม |
|
ชาวตำบลซับจำปามีลักษณะแบบสังคมเกษตรวิถีชาวพุทธ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พึ่งพาอาศัยกัน
มีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในตำบล จึงอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และยังคงสืบสานประเพณีวัฒนธรรมสำคัญของตำบล
ซึ่งส่วนใหญ่
เกี่ยวข้องกับวัดและพิธีกรรมทางศาสนา ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ที่มีพิธีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ ตามส่วนราชการและ
ในหมู่บ้าน ประเพณีแห่เทียน
เข้าพรรษา ณ วัดในหมู่บ้าน และประเพณีลอยกระทง |
|
|

 |
สถาบันและองค์กรทางศาสนา |
|
ประชาชนส่วนใหญ่ในตำบลซับจำปา นับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ โดยมีวัด ๔ แห่ง |
|
|

 |
วัด ( ตั้งอยู่ในหมู่ที่ ๑,๒,๓,และ๔ ) |
|
|

 |
การศึกษาในตำบล |
|
องค์การบริหารส่วนตำบลซับจำปา มีหน่วยงานให้บริการด้านการศึกษาในพื้นที่จำนวน ๕ แห่งได้แก่ |
|
สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลซับจำปา ได้แก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน ๑ แห่งได้แก่ |
|
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ซับจำปา |
|
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) จำนวน ๔ แห่งได้แก่ |
|
|

 |
โรงเรียนประถมศึกษา |
จำนวน |
๓ |
แห่ง |
|
|

 |
โรงเรียนมัธยมศึกษา |
จำนวน |
๑ |
แห่ง |
|
|

 |
การสาธารณสุข ได้แก่ |
|
|

 |
สถานีอนามัยประจำตำบล ( ตั้งอยู่ในหมู่ที่ ๓ ) |
|
|

 |
อัตราการมีและการใช้ส้วมราดน้ำ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ |
|
|

 |
ความปลอดภัยในตำบล |
|
|

 |
จุดตรวจประจำตำบล |
จำนวน |
๑ |
แห่ง |
|
|

 |
ลูกเสือชาวบ้าน |
๑ รุ่น |
๓๐ |
คน |
|
|

 |
อปพร. |
รุ่น ๑ |
๒๖ |
คน |
|
|

 |
อปพร. |
รุ่น ๒ |
๔๐ |
คน |
|
|
|
|
|
|
|
|
|